open-navigation
close-navigation
open-navigation
close-navigation

เสริมหน้าอก Breast augmentation

เสริมหน้าอก ด้วยการฉีดไขมัน+สเตมเซล (CAL Breast Augmentation-Cell-Assisted Lipoplasty)

เสริมหน้าอก (Breast Augmentation) เป็นการผ่าตัดที่มีความนิยมมากทั่วโลก การเสริมหน้าอก ทำนม นั้นมีวิวัฒนาการมาโดยตลอด ปัจจุบันอาจกล่าวได้ว่าด้วยวัสดุเสริมหน้าอกรุ่นใหม่ และเทคนิคการผ่าตัดที่ดีขึ้นมาก การควบคุมสภาวะปลอดเชื้อและห้องผ่าตัด ทำให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีและมีผลแทรกซ้อนต่ำมาก

ด้วยทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการศัลยกรรมตกแต่ง เสริมหน้าอก ทำนม ศัลยกรรมหน้าอก (Breast surgery) และศัลยกรรมจมูก (เสริมจมูก) และใบหน้า (Nose& Facial surgery) ประสบการณ์มากกว่า 17 ปี

01 Case

ปัญหามีผังผืดที่เต้านมขวา ซิลิโคนสูงผิดปกติ หน้าอกผิดรูป หัวนมคว่ำลง ระยะร่องอกไม่สมมาตรจากการผ่าตัดเดิม

แก้ไข : แก้ไขช่องซิลิโคนใหม่ เลาะผังผืด ทั้งหมด ปรับแต่งระดับฐานอก และระยะร่องอก เปลี่ยนซิลิโคนใหม่

02 Case

ปัญหา ฐานอกไม่เท่ากัน ตำแหน่งวางซิลิโคนสูงต่ำไม่เท่ากัน มีรอยย่นที่ร่องอกขวา ระยะร่องอกไม่สมมาตร ฐานอกหย่อนด้านขวา รูปทรงไม่ธรรมชาติ

แก้ไข : ปรับแต่งแก้ไขช่องซิลิโคน แก้ไขร่องอกให้สมมาตร เซทระดับซฺลิโคนและเปลี่ยนซิลิโคนใหม่

03 Case

ปัญหา ผังผืดระดับสามทั้งสองข้าง เนินอกไม่ธรรมชาติ ทรงหน้าอกดูไม่ธรรมชาติ (Artificial looking)

แก้ไข : แก้ไขเลาะผังผืด ปรับแต่งทรงและช่องซิลิโคน เปลี่ยนซิลิโคนใหม่

04 Case analysis

Bilateral capsular contracture grade 4 ผังผืดรัดถุงเต้านมทั้ง 2 ข้าง ระดับ 4 (สูงสุด) มีอาการเจ็บและรูปทรงผิดรูปร่าง

Operation : Capsulectomy with change to tear drop implant ผ่าตัดแก้ไขโดยการเลาะผังผืดออกทั้งหมด เปลี่ยนเป็นซิลิโคนทรงหยดน้ำ และจัดวางตำแหน่งใหม่

05 Case analysis

Post mammaplasty with implant malposition ซิลิโคนเคลื่อนต่ำผิดตำแหน่งจากการผ่าตัดทางรักแร้ และเซาะฐานต่ำเกินไป เกิดภาวะ Bottom out

Opeartion : Capsulorhaphy with reinforcement and change to tear drop implant ผ่าตัดแก้ไขช่องช่องซิลิโคน และเปลี่ยนเป็นซิลิโคนทรงหยดน้ำ

06 Case analysis

Implant malposition and visible ripples at upper pole of right breast

Operation : แก้ไขซิลิโคนผิดตำแหน่ง และ แก้ไขการมองเห็นรอยย่นของซิลิโคนที่บริเวณเนินอกข้างขวา

07 Case analysis

Bottom out deformities การผ่าตัดแก้ไข Bottom-out (การหย่อนของฐานอก)

Operation : Correction of bottom out deformities and up size using tear drop implants การผ่าตัดแก้ไข Bottom-out (การหย่อนของฐานอก) และปรับเพิ่มขนาด โดยการใช้ซิลิโคนทรงหยดน้ำ

08 Case analysis

History of several previous breast augmentation surgery with capsular contracture and double bubble deformities ผ่าตัดแก้ไขผังผืดทั้งสองข้าง แก้ไขฐานอก และ double bubble และเปลี่ยนซิลิโคนเป็นทรงหยดน้ำ

Operation : ผ่าตัดแก้ไขผังผืดทั้งสองข้าง แก้ไขฐานอก และ double bubble และเปลี่ยนซิลิโคนเป็นทรงหยดน้ำ

แก้ไขเสริมหน้าอก โดยหมอพีระ แก้ปัญหาหน้าอกแข็งตึง หน้าอกผิดรูป
แก้ไขพังผืด เปลี่ยนซิลิโคนที่เหมาะสม ปรับระดับใหม่

แชร์ประสบการณ์จริง ดารา คนดัง

เสริมหน้าอก ทำนม และแก้ไขหน้าอก กับ PSC Clinnic

รีวิวเสริมหน้าอก ทำนม ที่ PSC

ประสบการณ์จริงผ่าตัดแก้หน้าอก Surgery Center Thailand

รีวิวเคสเสริมหน้าอก ทำนม

1 พ.ค. - เคสเสริมหน้าอก

รีวิวเคสเสริมหน้าอกจากคุณตาต้า

รีวิวเคสเสริมหน้าอก จากคุณตาต้า โดย นพ.พีระ เทียนไพฑูรย์

READ MORE

1 พ.ค. - เคสเสริมหน้าอก

รีวิวเคสเสริมหน้าอกจากคุณตุ๊กติ๊ก

รีวิวเคสเสริมหน้าอกจาก คุณตุ๊กติ๊ก โดย นพ.พีระ เทียนไพฑูรย์

READ MORE

1 พ.ค. - เคสเสริมหน้าอก

รีวิวเคสเสริมหน้าอกจากคุณหทัยชนก ทัศนวงศ์

รีวิวเคสเสริมหน้าอกจาก คุณ หทัยชนก ทัศนวงศ์ โดย นพ.พีระ เทียนไพฑูรย์

READ MORE

1 พ.ค. - เคสเสริมหน้าอก

รีวิวเคสเสริมหน้าอกจากคุณนัทตี้ สาวสวยเทรนเนอร์เมืองไทย

รีวิวเคสเสริมหน้าอกจาก คุณนัทตี้ โดย นพ.พีระ เทียนไพฑูรย์

READ MORE

คำถามที่มักพบบ่อย FAQ.

เสริม หน้าอกสามารถนิ่มได้ใกล้เคียงหน้าอกจริง โดยขึ้นกับปริมาณของเนื้อไขมันที่มี  ปริมาณเนื้อเต้านม   และชนิดของซิลิโคน   และมีพังผืดด้วยหรือไม่

สามารถพบได้แต่น้อยมาก  ขึ้นกับคุณภาพของผิวหนังและขนาดที่ใส่ใหญ่มากเกินไปหรือไม่

ให้นมบุตรได้ปกติ   แนะนำไม่เกินประมาณ 6-8 เดือน เพื่อป้องกันการยืดขยายของเต้านมนานเกินไป 

ไม่เพิ่มความเสี่ยง  โดยความเสี่ยงเท่ากับคนปกติที่ไม่เสริมเต้านม   

ปัจจุบันนิยมใช้ถุงซิลิโคนเจล   ชนิดผิวนาโนเทคเจอร์ หรือผิวเรียบ     เลือกขนาดที่พอเหมาะกับร่างกาย   ตามสภาพขนาดลำตัวและลักษณะผิวหนัง ความหนาบางของเต้านม   การคล้อยตัวของหน้าอก  โดยอยู่ในคำแนะนำของศัลยแพทย์  

แนะนำพักกล้ามเนื้อและแผลผ่าตัดประมาณ 6 เดือน 

แนะนำผ่าตัดหลังจากอายุ 17 ปี ขึ้นไป เพื่อรอให้เต้านมเจริญเติบโตเต็มที่ก่อน

ไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนทุก 10 ปี แนะนำให้ทำ MRI scan  ที่ระยะ 8-9 ปี หลังผ่าตัด  เพื่อตรวจเช็คถุงซิลิโคน หากปกติสามารถใช้ต่อได้โดยทำสแกนซ้ำทุกๆ 3 ปี

การเกิดพังผืดเกิดจากการตอบสนองของร่างกายต่อสิ่งแปลกปลอม   ปัจจุบันพบน้อยมากราว 0.2%  ในการผ่าตัดสมัยใหม่  

เริ่มตั้งแต่การผ่าตัดต้องบาดเจ็บน้อย  เพื่อลดการอักเสบและการตอบสนองให้มากที่สุด รวมถึงการเลือกซิลิโคนชนิดที่ร่างกายตอบสนองน้อย ( Biocompatibility ดี)    และมีความคงทนสูง  ไม่มีการซึมของเจลได้ง่าย( Gel bleed)   และการปฏิบัติตัวหลังผ่าตัดที่ถูกต้อง

เริ่มตั้งแต่การผ่าตัดต้องบาดเจ็บน้อย  เพื่อลดการอักเสบและการตอบสนองให้มากที่สุด รวมถึงการเลือกซิลิโคนชนิดที่ร่างกายตอบสนองน้อย ( Biocompatibility ดี)    และมีความคงทนสูง  ไม่มีการซึมของเจลได้ง่าย( Gel bleed)   และการปฏิบัติตัวหลังผ่าตัดที่ถูกต้อง

ทำได้ตามปกติแต่ควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสหน้าอกที่มากเกินไปในช่วงที่กล้ามเนื้ออักเสบโดยเฉพาะช่วง 1 เดือนแรก

นอกจากการผ่าตัดการเย็บที่ดีแล้ว  ให้หลีกเลี่ยงการเคลื่อนไหวที่มากเกินไป เพื่อลดแรงดึงที่แผล และปิดแผ่นเจล  ทายาที่แผลผ่าตัดในระยะเวลา 6 เดือน  อย่างเคร่งครัด

พบว่าเกิดได้ในชาวตะวันตกเป็นส่วนใหญ่ ถือเป็นโรคหายาก เกี่ยวข้องกับซิลิโคนชนิดผิวทรายหยาบแบบดั้งเดิม ที่กระตุ้นให้เกิดการระคายเคืองเป็นระยะเวลานาน  ไม่พบว่าเกี่ยวข้องกับซิลิโคนชนิดผิวเรียบหรือทรายกึ่งเรียบ 

ในปัจจุบันองค์การอนามัยโลกยังไม่แนะนำคนไข้ให้ผ่าตัดซิลิโคนชนิดผิวทรายแบบดั้งเดิมนึ้ออก
เพราะความเสี่ยงต่ำมาก  แนะนำให้สังเกตอาการโดยปรึกษาแพทย์